ข้อมูลของหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (ระดับปริญญาโท)
ปรัชญา และความสําคัญ ของหลักสูตร
ลักษณะและข้อมูลทั่วไปของหลักสูตร
หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2561
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์
ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ : Master of Economics Program
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ไทย) : เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Master of Economics
ชื่อย่อ (ไทย) : ศ.ม.
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : M. Econ.
3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร
– ไม่มี
4. จำนวนหน่วยกิตและระยะเวลาที่เรียนตลอดหลักสูตร
หลักสูตรระดับปริญญาโท ระยะเวลา 2 ปี จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
4.1 กรณีจัดการศึกษาตามแบบแผน ก แบบ ก2 จำนวนหน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
4.2 กรณีจัดการศึกษาตามแบบแผน ข จำนวนหน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิจัยทั้งในภาคราชการและภาคเอกชน
2. นักวิชาการด้านการวางแผน การวิเคราะห์และประเมินแผนพัฒนาเศรษฐกิจทั้งระดับจุลภาคและมหภาค
3. ผู้บริหารในบริษัทเอกชน
4. หัวหน้าฝ่ายในองค์กรในบริษัทการเงิน เช่น ธนาคาร
5. ทางานทางด้านจัดซื้อ
6. อาจารย์สอนในระดับอุดมศึกษา
ระบบการจัดการศึกษา
จัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค ข้อกำหนดต่างๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559
มีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนสาหรับหลักสูตร แผน ข โดยมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ต่อภาคการศึกษา ตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559
– ไม่มี
– วัน เวลาราชการ
ภาคการศึกษาต้น ตั้งแต่เดือนสิงหาคม ถึง เดือนธันวาคม
ภาคการศึกษาปลาย ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนพฤษภาคม
– วันเสาร์และวันอาทิตย์
ภาคการศึกษาต้น ตั้งแต่เดือนสิงหาคม ถึง เดือนธันวาคม
ภาคการศึกษาปลาย ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนพฤษภาคม
– วันเสาร์และวันอาทิตย์
ภาคการศึกษาต้น ตั้งแต่เดือนสิงหาคม ถึง เดือนธันวาคม
ภาคการศึกษาปลาย ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนพฤษภาคม
ภาคการศึกษาฤดูร้อน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึง เดือนกรกฎาคม
โครงสร้างหลักสูตร
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
มาตรฐานผลการเรียนรู้ นิสิตจะได้รับการพัฒนาให้เกิดผลการเรียนรู้ดังนี้
การค้นคว้าอิสระ) ให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้
สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการทำวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระได้
อย่างประสิทธิภาพ เช่น การเข้าถึง และขอความร่วมมือจากกลุ่มเป้าหมายของการวิจัย เพื่อขอความอนุเคราะห์ข้อมูล